เตรียมความพร้อมในการสอบวิชาสังคมศึกษา (แบบฝึกหัด ONET และ 9 วิชาสามัญ)


ข้อแนะนําในการทําข้อสอบ (ภาพรวมทุกสนาม)

          สําหรับการทําข้อสอบในภาพรวมนั้นสิ่งที่นํามาใช้ในการวิเคราะห์นั้นนอกเหนือจาก การนําความรู้ที่มีอยู่มาต่อยอดให้เกิดความหมายและความเป็นรูปธรรมต่อระบบที่นํามาใช้ใน การสอบแล้ว การต่อยอดจากความรู้และบรรทัดฐานมาเชื่อมต่อให้เกิดองค์ประกอบและ ความทรงจํานั้นสิ่งที่นํามาใช้ในการเตรียมพร้อมนอกเหนือจากความรู้ที่มีอยู่ แต่เป็นสิ่งที่ สามารถบูรณาการให้เกิดความเป็นรูปธรรมและเป็นองค์ประกอบในการศึกษาที่ข้อสอบแต่ละ รูปแบบสามารถนํามาใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรม

            หัวใจสําคัญอย่างหนึ่งที่พบได้กับการทําข้อสอบในยุคนี้ข้อสังเกตที่น่าสนใจสําหรับ การบูรณาการความรู้คือ การหาจุดยืนหลักให้ได้ว่า สิ่งที่ต้องการต่อความหมายนั้นคืออะไร แล้วการที่นําไปใช้กับข้อเท็จจริงสู่จุดยืนอย่างแท้จริงนั้นสิ่งใดที่เป็นการเชื่อมต่อเพื่อให้เกิด ความหมายเพื่อให้การสะท้อนคิดและการทําข้อสอบมีการจัดอันดับและวางโครงร่างที่มีความ ชัดเจนจนเป็นที่พิสูจน์ได้ว่า สิ่งนั้นคือสิ่งที่สามารถตอบสนองต่อทางเลือกทั้งในลักษณะ คําถาม รูปการณ์ และ การวิเคราะห์แยกแยะที่แท้จริงนั้นคงไม่ใช่ทางออกที่ดีที่สุดที่จะเป็น ตัวเชื่อมความคิดที่บอกเลยว่าสิ่งนั้นเป็นสิ่งที่สามารถวิเคราะห์ เชื่อมโยง พร้อมกับการตัดสิน ในรูปแบบต่างๆทั้งการทําโจทย์ในแง่มุมของปรนัย อัตนัย และ การวิจารณ์ที่เชื่อว่าสิ่ง เหล่านั้นจะเป็นสิ่งที่สามารถบ่งบอกและพิจารณาได้ว่า สิ่งนั้นคือทางออก สิ่งนั้นคือ ข้อเท็จจริง และ สิ่งนั้นคือความหมายที่แท้จริงหรือไม่แม้จะเป็นแค่การให้ข้อสังเกตต่อ องค์ประกอบกับความสัมพันธ์ต่างๆที่โดยปกติแล้วการต่อยอดในสิ่งเหล่านั้นจะเป็นสิ่งที่ สามารถนํามาใช้กับรูปแบบคําถามต่างๆทั้งการถามแบบปรนัย การถามแบบวิเคราะห์ และ การเชื่อมโยงต่างๆที่ข้อสอบสามารถจัดอันดับความสําคัญและความสัมพันธ์อื่นๆ ที่มองแล้ว เป็นสิ่งที่เรียบง่ายแต่ชัดเจน แม้ในความเป็นจริงแล้วการตัดสินใจสําหรับการสอบนั้นจะเป็น การสอบที่มีการวิพากษ์และตัดสินให้เกิดสายตาและความเป็นรูปธรรมที่สามารถจัดการ แนวคิดของคําถามที่ไม่ใช่แค่การถามและตอบพร้อมกับการวิพากษ์ตามประเด็น แต่แท้จริง นั้นคงไม่ใช่สิ่งที่บ่งบอกและมีคําตอบที่ตายตัวเสมอไปว่าสิ่งเหล่านั้นจะเป็นสิ่งที่มีการวาง ความหมายอย่างไรกับเรื่องเหล่านั้น แม้ข้อสอบในปัจจุบันจะเป็นสิ่งที่มีการต่อยอดเพื่อให้ ทางออกในการศึกษาสามารถที่จะดํารงอยู่ได้และวางความหมายในสิ่งที่เหมาะสมและเกิด ความน่าจะเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ

          จากแบบฝึกหัดที่ผ่านมาคงมีการตั้งคําถามอยู่เหมือนกันว่า เราฝึกแบบนั้นไปทําไม ทั้งที่จริงแล้วข้อสอบมีการวางโครงร่างและรูปแบบที่ไม่ใช่แค่การออกข้อสอบเชิงเดี่ยวหรือ การออกแค่ความเข้าใจ แต่แท้จริงนั้นเป็นการออกข้อสอบแบบผสมผสานที่เน้นความเข้าใจ การบูรณาการ และ การวางกลยุทธ์อย่างชัดเจนเพื่อให้เกิดทางออกและความเชื่อมั่นที่ สุดท้ายแล้ว ข้อสอบเหล่านั้นจะถูกตีความและให้คุณค่าผ่านบทวิเคราะห์ การสะท้อนคิด และ การต่อยอดในแต่ละสาระวิชาให้ได้ว่า ในแต่ละเรื่องที่นํามาใช้นั้นเมื่อนํามากล่าวถึงหรือ เชื่อมโยงนั้นจะมีความผูกพันต่อเรื่องราว ความทรงจํา และ ข้อเท็จจริงอื่นอย่างไรเพื่อให้สิ่ง เหล่านั้นสามารถนํามาตอบโจทย์และเป็นคําตอบที่ทุกคนสามารถนํามาตอบสนองเพื่อให้ ทางออกของข้อสอบสามารถนํามาเป็นตัวตัดสิน แม้ในความจริงนั้นคงไม่ใช่สิ่งที่มีนิยาม ตายตัวเสมอไปว่า สิ่งนั้นจะมีการวางกลยุทธ์ต่อตัวเลือกและการวางโครงสร้างอื่นที่สามารถ นํามาตีความแล้วสุดท้ายเราจะตัดสินกับการสอบนั้นได้อย่างไรบ้าง

          ในข้อสอบแต่ละปีที่ปรากฏนั้นเป็นสิ่งที่สามารถสะท้อนอะไรได้หลายอย่างเหมือนกัน ที่ไม่ใช่แค่จุดชี้วัดหรือการเชื่อมโยงที่เป็นตัวบ่งบอกว่า ในข้อสอบแต่ละฉบับจะต้องเน้นเป็น อะไรพิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตัวเนื้อหาที่ยอมรับว่า ณ ตอนนี้สิ่งที่เกิดขึ้นนั้นแม้จะบอกว่า เป็นสิ่งที่เรียกว่าลูกผสมและบูรณาการ แต่แท้จริงแล้วข้อสอบที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะในสนามใดก็ ตามล้วนมีข้อสังเกตและมีรายละเอียดที่หลากหลาย โดยจะขอขยายความจากประสบการณ์ ในสิ่งที่เป็นภาพรวม 2 อย่าง ดังนี้

1. การจับประเด็นและลงรายละเอียด : หัวข้อนี้ได้พยายามแนะนํามาอย่าง
ต่อเนื่องกับสิ่งที่เกิดขึ้นในแต่ละสาระวิชาที่แม้ข้อสอบปัจจุบันจะมีแนวโน้ม ข้อสอบทั้งข้อสอบปกติและข้อสอบวิเคราะห์เจาะจง ซึ่งในความเป็นจริงนั้นการ ลงรายละเอียดในเชิงลึกนั้นจะสามารถตัดสินได้ว่าสิ่งนั้นคือรายละเอียดในองค์ รวมที่มีการสะท้อนและให้ข้อสังเกตจากการวิพากษ์ที่แต่ละเรื่องออกคําถามและสร้างคําตอบกับการเชื่อมโยงที่สามารถจับประเด็นได้ทันที

2. การวิเคราะห์และเปรียบเทียบ : หัวใจสําคัญของข้อสอบปัจจุบันนี้ แม้จะบอก
กันตั้งแต่แรกว่าข้อสอบโดยมากจะเน้นการวิเคราะห์ แต่ถ้านํามาประยุกต์ใช้ให้ เกิดทางออก จะเห็นว่าในแต่ละสาระวิชาจะสามารถต่อยอดและวิเคราะห์จาก สิ่งที่ดํารงอยู่ได้มากน้อยขนาดไหน เพราะในข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น สิ่งที่ถูก พิจารณาจากเนื้อหาและแนวโน้มที่มีอยู่อย่างต่อเนื่องและเชื่อว่าในการต่อยอดในข้อสอบนั้นสิ่งที่สามารถนํามาบูรณาการร่วมกันคงเป็นสิ่งที่สามารถตั้งคําถาม และมีข้อสังเกตร่วมกันในการตัดสินใจได้อีกด้วย


          กล่าวโดยสรุปในประเด็นนี้ อาจเห็นได้อีกหลายมุมสําหรับการเตรียมความพร้อม ของการสอบนั้นเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องกลับมาพิจารณาตนเองกันว่า ในแต่ละสาระวิชาที่เรียนรู้ นั้นยังมีอะไรที่เราจะต้องปรับตัวหรือพัฒนาตนเองกันต่อเพราะในการสอบนับจากนี้ แต่ละ ข้อสอบที่เจอหรือฝึกฝนนั้นเป็นเพียง “สะพาน” ที่ทุกคนต้องพัฒนาต่อไป

โชคดีในการเตรียมสอบทุก พี่จูน
 

แบบฝึกหัด Advance (ประวัติศาสตร์)


แบบฝึกหัด Advance (ประวัติศาสตร์) เฉลยและอธิบาย

แบบฝึกหัด Advance (ภูมิศาสตร์)

แบบฝึกหัด Advance (ภูมิศาสตร์) เฉลยและคำอธิบาย

แบบฝึกหัด Advance เศรษฐศาสตร์

แบบฝึกหัด Advance เศรษฐศาสตร์ เฉลยคร่าวๆ

แบบฝึกหัด Advance หน้าที่พลเมือง

แบบฝึกหัด Advance หน้าที่พลเมือง เฉลยและคำอธิบาย

แบบฝึกหัด Advance ศาสนา


 

แบบฝึกหัด Advance Quiz ศาสนา เฉลยและคำอธิบาย


By P’Jun (พี่จูน)  ปพน จูน คิมูระ
คอร์สเรียน https://www.boostup.in.th/institute/tutor/77/course
 
 


 
 


 
 

P’Jun Teach Series (จากความรู้ในเพจ...สู่การวิเคราะห์และเห็นภาพวิชาสังคมแบบง่ายๆ)

    
พบเทคนิคต่าง ๆ อีกมากมายที่ http://bit.ly/BoostUpLine 
ติดตามโปรโมชั่นและคอร์สเรียนอื่นๆ ที่ https://www.boostup.in.th/
ติดตามเพจที่   https://facebook.com/boostuptutor/